ประเภทของเสีย
กลุ่มทราย
ชนิดของเสีย
ทรายแบบหล่อชิ้นงานที่เป็นเหล็ก
ตัวอย่างของเสีย
ทรายจากกระบวนการหล่อชิ้นงานที่เป็นเหล็ก
องค์ประกอบหลัก
- ทราย (Sand) : <89%
- สิ่งปนเปื้อนอื่นๆ (Other) : >11%
คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี
- ลักษณะ (Appearance) : ผลึกใส (Transparent crystals)
- ความหนาแน่น (Density) : 2.648 g•cm-3
- จุดหลอมเหลว (Melting point) : 1600-1725°C
- จุดเดือด (Boiling point) : 2230°C
คุณสมบัติของของเสียสำหรับเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล
- ไม่ระบุคุณสมบัติเฉพาะ สามารถเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลได้ทันที
กระบวนการรีไซเคิล
- แยกสิ่งเจือปนที่ไม่ใช่ทรายแบบหล่อออก
- ทำความสะอาดทรายแบบหล่อด้วยตัวทำละลาย
- ทรายที่ปราศจากสิ่งเจือปน
- ส่งโรงหล่อ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการรีไซเคิล
- แบบหล่อประเภททราย
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์
- วัตถุดิบทดแทน (Alternative raw material)
ประเภทอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการรีไซเคิล
- ลำดับที่ 57 (1) โรงงานประกอบกิจการการทำซีเมนต์ ปูนขาวหรือปูนปลาสเตอร์
- ลำดับที่ 106 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนำผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ไม่ใช้แล้วหรือของเสียจากโรงงานมาผลิตเป็นวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ใหม่
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550
- พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548
- ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ของผู้ประกอบกิจการบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550
- ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยเรื่องรายละเอียดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตประเภทหรือชนิดของโรงงานลำดับที่ 105 และลำดับที่ 106 พ.ศ. 2545
- ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง การนำยางรถที่ใช้แล้วเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2546
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
[1] http://www.ehow.com/how_7650871_make-molding-sand.html
[2] SI Chemical Data Book (4th ed.), Gordon Aylward and Tristan Findlay, Jacaranda Wiley
[3] http://www.iepattana.com/Doc/MatSciDog/Present/Ch6,Physical.pp