ฐานข้อมูลบัญชีของเสีย
กลุ่มของเสียอุตสาหกรรมยานยนต์
พลาสติกอะคริโลโนไตรล์บิวทาไดอีนสไตรีน

ประเภทของเสีย
กลุ่มพลาสติก

ชนิดของเสีย
พลาสติกอะคริโลโนไตรล์บิวทาไดอีนสไตรีน

ตัวอย่างของเสีย
เศษชิ้นส่วนจากกระบวนการผลิตสเกิร์ต ลิ้นหน้า ลิ้นหลัง และสปอยเลอร์ ของยานยนต์

องค์ประกอบหลัก
- อะคริโลไนไตรล์ (Acrylonitrile) : 15 - 30 %

- โพลิบิวทาไดอีน (Polybutadiene; BR) : 5 - 30%

- สไตรีน (Styrene) : 45 - 75%


คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี
- ความหนาแน่น (Density) : 1.03 - 1.09 g•cm-3 ที่ 20 °C

- ดัชนีหักเหแสง (Refractive index) : 1.540 ที่ 20 °C

- ความส่งผ่านของแสง (Transmittance) : 80 - 90%

- ความมัว (Haze) : 0.4 - 5%

- จุดหลอมเหลว (Melting point) : 220 – 260 °C

- จุดอ่อนตัว (Softening point) : >90 °C

- ค่าสัมประสิทธ์การขยายตัวเนื่องจากความร้อน (Thermal expansion coefficient) : 0.6x10-4-1x10-4 °C-1

- ค่าการนำความร้อน (Thermal conductivity) : 0.16 W•m-1•K-1

- อุณหภูมิการเปลี่ยนสถานะคล้ายแก้ว (Glass transition temparature) : 102 - 107 °C

- ความร้อนจำเพาะ (Specific heat capacity) : 1780 - 2030 J•K-1 •kg-1

- อุณหภูมิการคงรูปทางความร้อน (Heat deflection temperature; HDR)  : 89 – 113 °C (ที่ 0.45 MPa) และ 67 – 109 °C ที่ 1.8 MPa

- ค่าความนำไฟฟ้าสัมพันธ์(Relative permittivity) : 2.9 (ที่ 100 Hz) และ 2.8 (ที่ 1 MHz)

- ค่าการสูญเสียพลังงานเนื่องจากสารที่เป็นฉนวน (Dissipation factor) : 48 x10-4-160 x10-4 (ที่ 100 Hz) และ 79x10-4- 140 x10-4 (ที่ 1 MHz)

- สภาพต้านทานไฟฟ้า (Electrical resistivity) : 1x1013 Ω•m-3

- ความทนของฉนวนไฟฟ้า (Dielectric strength) : 37 - 41 kV•mm-1

- อัตราการซึมผ่านของน้ำ (Water permeability) : 80.9 - 89.7 barrer

- ช่วงอุณหภูมิการใช้งาน : (-20) – 80 °C

คุณสมบัติของของเสียสำหรับเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล
ไม่ระบุคุณสมบัติเฉพาะ สามารถเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลได้ทันที

กระบวนการรีไซเคิล
- คัดแยกสารปนเปื้อนที่ไม่ใช่อะคริโลไนไตรล์บิวทาไดอีนสไตรีน (Acrylonitrile butadiene styrene) ออก

- กระบวนการหลอม

- กระบวนการอัดเม็ด

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการรีไซเคิล
เม็ดพลาสติกชนิดอะคริโลไนไตรล์บิวทาไดอีนสไตรีน (Acrylonitrile butadiene styrene)

ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์
- วัตถุดิบทดแทน (Alternative raw material)

ประเภทอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการรีไซเคิล
- พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550

- พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535

- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548

- ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ของผู้ประกอบกิจการบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550

- ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยเรื่องรายละเอียดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตประเภทหรือชนิดของโรงงานลำดับที่ 105 และลำดับที่ 106 พ.ศ. 2545

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550

- พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535

- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548

- ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ของผู้ประกอบกิจการบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550

- ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยเรื่องรายละเอียดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตประเภทหรือชนิดของโรงงานลำดับที่ 105 และลำดับที่ 106 พ.ศ. 2545


แหล่งข้อมูลอ้างอิง

[1]    http://carupgrade.tarad.com/product.detail_847988_en_2968727

[2]    http://www.mymemomy.wordpress.com

[3]    http://www.summacheeva.org

[4]    George Wypych, 2012, Handbook of polymer, Chemtec Publishing, Toronto, pp.3-10

[5]    http://www.physics.science.cmu.ac.th

[6]    Rader, Charless P, Baldwin, Sheryl D, Cornell, David D, Sadler, Georoge D, Stockel and Richaed F, 1995, Plastics, rubber and paper recycling