ฐานข้อมูลบัญชีของเสีย
กลุ่มของเสียอุตสาหกรรมยานยนต์
เศษกระจก

ประเภทของเสีย
กลุ่มของเสียอื่นๆ

ชนิดของเสีย
เศษกระจก

ตัวอย่างของเสีย
เศษกระจกจากกระบวนการผลิตกระจกรถยนต์

องค์ประกอบหลัก
ซิลิกอน (Silicon; Si) : 100%

คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี
- ความหนาแน่น (Density) : 2.33 g•cm-3

- จุดหลอมเหลว (Melting point) : 1687 °C

- จุดเดือด (Boiling point) : 3538 °C

คุณสมบัติของของเสียสำหรับเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล
ไม่ระบุคุณสมบัติเฉพาะ สามารถเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลได้ทันที

กระบวนการรีไซเคิล
- แยกสิ่งปนเปื้อนที่ไม่ใช่เศษกระจก

- ส่งโรงงานผลิตกระจก

- กระบวนการหลอม

- กระบวนการขึ้นรูป

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการรีไซเคิล
กระจก

ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์
- วัตถุดิบทดแทน (Alternative raw material)

ประเภทอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการรีไซเคิล
- ลำดับที่ 54 โรงงานผลิตแก้ว เส้นใยแก้ว หรือผลิตภัณฑ์แก้ว

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550

- พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535

- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548

- ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ของผู้ประกอบกิจการบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550


แหล่งข้อมูลอ้างอิง

[1]  http://www.ehow.com/how_7729098_install-glass-92-honda-civic.html

[2] SI Chemical Data Book (4th ed.), Gordon Aylward and Tristan Findlay, Jacaranda Wiley

[2] http://www.boifair2011.com/resources /uploaded/th/events/seminar/S-017.pdf