ฐานข้อมูลบัญชีของเสีย
กลุ่มของเสียอุตสาหกรรมยานยนต์
กากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย

ประเภทของเสีย
กลุ่มกากตะกอน

ชนิดของเสีย
กากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย

ตัวอย่างของเสีย
กากตะกอนทั่วไปจากระบบบำบัดน้ำเสีย

องค์ประกอบหลัก
- คาร์บอน (Carbon; C) : 33.51-40.49%

- อินทรีย์วัตถุ (Organic matter) : 30.18-34.81%

- ไนเตรต (Nitrate; NO3-) : 0.44-0.83

- ฟอตเฟต (Phosphate; P) : 0.03-0.05%

คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี
- มวลโมเลกุล (Molecualr mass) : 92.14 g•mol-1

- จุดเดือด (Boiling point) : 110.6 °C

- จุดวาบไฟ (Flash point) : 4 °C

คุณสมบัติของของเสียสำหรับเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล
- ต้องมีองค์ประกอบของฟอสฟอรัสมากกว่า 50% ขององค์ประกอบทั้งหมด

กระบวนการรีไซเคิล
- แยกสิ่งปนเปื้อนที่ไม่ใช่กากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย

- ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการรีไซเคิล
- ปุ๋ย

- สารปรับปรุงหน้าดิน

ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุดิบทดแทน (Alternative raw material)

ประเภทอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการรีไซเคิล
- ลำดับที่ 43 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกำจัดศัตรูพืชหรือสัตว์

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2550

- พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535

- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

- ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ  สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ของผู้ประกอบกิจการบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550


แหล่งข้อมูลอ้างอิง

[1]  http://www.ecologixsystems.com/process-sludge-treatment.php

[2]  http://ptech.pcd.go.th/p2/userfiles/consult/4/waste_u2.pdf

[3]  http://www.pharm.su.ac.th

[4]  http://it.doa.go.th